Sequential Logic
Sequential
Logic คือ Combinational Logic ที่มีการเก็บ
Input ก่อนหน้า และ Output ก่อนหน้า เป็น
Memory ทำให้ Output ของ Sequential
Logic จะขึ้นกับ Input ขณะนั้น, Input ก่อนหน้า และ Output ก่อนหน้า ซึ่งในการทำงานของ Sequential
Logic จะขึ้นอยู่กับ Clock Signal ด้วย
อุปกรณ์พื้นฐานที่สำคัญของ
Sequential Logic คือ Flip-Flop
หมายเหตุ Combinational Logic คือ วงจรที่ Output ขึ้นกับ Input ขณะนั้น และ อุปกรณ์พื้นฐาน คือ Logic
Gate
ไม่เปลี่ยนแปลง
สามารถแบ่ง Flip - Flop ได้เป็น 4 แบบดังนี้
-
SR
Flip – Flop
1.
SR Flip – Flop โดยใช้ NOR
Gate
SR Flip – Flop โดยใช้ NOR Gate จะใช้
NOR Gate 2 มาต่อกันโดย
Output ของ NOR Gate ตัวหนึ่งจะไปเป็น
Input ของ NOR Gate อีกตัว ทำให้ Output
ของ NOR Gate ของตัวหนึ่งจะขึ้นอยู่กับ Output
ของ NOR Gate อีกตัว และ Input ขณะนั้น จึงสามารถสรุปเป็นตารางการทำงานได้ดังนี้
2. SR Flip – Flop โดยใช้ NAND
Gate
SR Flip – Flop โดยใช้ NAND Gate จะใช้ NAND Gate 2 มาต่อกันโดย Output ของตัวหนึ่งจะไปเป็น Input ของตัวหนึ่งเหมือนกับ SR Flip – Flop โดยใช้ NOR Gate แต่การทำงานจะต่างกัน ซึ่งสามารถสรุปตารางการทำงานได้ดังนี้
-
JK
Flip – Flop
JK Flip – Flop จะประกอบไปด้วย NAND Gate 3 Input 2 ตัว
มาต่อกับ SR Flip – Flop โดยจะให้หลักการที่นำ Output ของ SR Flip – Flop มาต่อเป็น Input ของ NAND
Gate ดังภาพข้างต้น และ
จะต่อ Clock Signal เข้า Input ของ
NAND Gate ทำให้ Clock Signal
มีผลต่อการทำงานของ JK Flip – Flop
ด้วย โดย JK Flip –
Flop จะทำงานเมื่อมีขอบขาขึ้นของ Clock Signal
ซึ่งสามารถสรุปตารางการทำงานได้ดังนี้
-
D – Type Flip – Flop
D – Type Flip – Flop จะประกอบไปด้วย NAND Gate
3 ตัวและ SR Flip – Flop ซึ่งจะทำงานตาม Clock
Signal และ Input D ซึ่งจะได้ตารางการทำงานดังนี้
-
T – Type Flip – Flop
T – Type Flip – Flop คือ JK Flip – Flop ที่ต่อ ขา J กับ ขา K เข้าด้วยกันเป็น
Input T ซึ่งจะใช้
T – Type ในการทำ Toggle เป็น Clock ซึ่งมีการทำงาน ดังนี้
Class Work # 1 การต่อวงจรเพื่อศึกษาการทำงานของ
JK Flip-Flop โดยใช้ IC 74HC73
สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก
Class Work
-
การทำงานของ JK Flip – Flop
ใน IC 74HC73
จะประกอบไปด้วย
1.
ขา R จะเป็นขาที่ทำหน้าที่ Reset Input ซึ่งจะ Reset เมื่อ Input ของขา
R เป็น LOW
2.
ขา CK จะเป็นขาที่รับ Clock signal ซึ่งเราสร้าง
Clock Signal จาก Debout Switch ซึ่งถ้าใน
Signal เกิดขอบขาลง จะทำให้ Flip – Flop ทำงาน
3.
ขา J และ ขา K จะเป็นขาที่รับคำสั่งว่า
Flip – Flop ต้องทำอะไร ซึ่งการทำงานของ IC จะสามารถ สรุปได้ดังนี้
· Counter
เราจะนำ JK Flip – Flop มาต่อประยุกต์กลายเป็นวงจร Digital
Counter โดยเราจะจ่าย High ให้กับ ขา J
และ ขา K ทำให้ JK Flip – Flop อยู่ในโหมดการทำงานที่สลับไปสลับมา(Toggle) ตาม Clock
Signal
-
Asynchronous Counters
Asynchronous counters เป็น Counter ที่ Flip – Flop แต่ละตัว ค่อยๆเปลี่ยน Output
ไปเป็นลำดับๆ เพราะ Flip – Flop แต่ละตัวใช้ Clock
Signal คนละตัว ซึ่งจะเกิดการ Delay จาก Flip
– Flop แต่ละตัว
1.
A four – bit up counter
A four – bit up counter คือ
การนับไล่จากน้อยไปมากโดยใช้เลขจำนวน 4 bit ซึ่งวงจรของการนับนี้
จะประกอบไปด้วย JK Flip – Flop 4 ตัวซึ่ง โดย Flip – Flop ตัวแรกจะเปลี่ยนสถานะ
Output เมื่อ Clock signal เป็นขอบขาขึ้น
ส่วนตัวอื่นๆจะเปลี่ยนสถานะเมื่อ Clock Signal เป็น ขอบขาลง
จึงทำให้เกิด การ Count ไปเรื่อยๆจากน้อยไปมาก
2. A simultaneous up and down counter

-
Synchronous Counters
Synchronous counters เป็น Counter ที่ Flip – Flop แต่ละตัว เปลี่ยน Output ไปพร้อมกัน เพราะ ใช้ Clock signal ร่วมกัน
1.
A four – bit synchronous up
counters
A four – bit synchronous up counters คือ
การนับไล่จากน้อยไปมากโดยใช้จำนวนเลข 4 bit ซึ่งวงจร counter
นี้จะประกอบไปด้วย JK Flip – Flop 4 ตัว และ AND
Gate 2 ตัว โดย ขา J และ K ของ Flip – Flop ตัวแรกจะเป็น
High ทำให้ Flip – Flop ตัวแรก
เกิดการเปลี่ยนสถานะ Output (Toggle) เมื่อ Clock
Signal เป็นขอบขาขึ้น ส่วน Flip – Flop ตัวต่อๆไปจะเปลี่ยนสถานะ
Output (Toggle) เมื่อ Output Q ของ Flip – Flop ตัวก่อนหน้าทั้งหมดเป็น High เพราะ ขา J และ ขา K ของ Flip – Flop ต่อกับ
Output Q ของตัวก่อนหน้า
2.

A four – bit synchronous down counters


A four – bit synchronous down counters คือ
การนับไล่จากมากไปน้อยโดยใช้จำนวนเลจ 4 bit ซึ่งวงจรนี้ Counter
นี้จะเหมือนกับ วงจร A four – bit synchronous up
counters แต่จะต่างตรงที่
ขา J และขา K
ของ Flip – Flop ตัวที่ 2 เป็นต้นไปต่อกับ Output ~Q ของตัวก่อนหน้า
ดังนั้น Flip
– Flop จะเปลี่ยนสถานะ Output เมื่อ Output ~Q ของ Flip – Flop ตัวก่อนหน้าเป็น
High
· Shift Register
Shift register เป็น Sequential logic ที่ใช้เก็บและส่งข้อมูลในรูปแบบเลขฐานสอง
โดยเราจะนำ D – Type Flip – Flop มาต่อประยุกต์กลายเป็น วงจร
Shift register ซึ่งเราสามารถแบ่งรูปแบบการรับส่งข้อมูลของ Shift
register ได้ 4 แบบ ดังนี้
-
Serial – in to Parallel – out (SIPO)
Serial – in to Parallel – out (SIPO) คือ การ Input
Data จะเป็นแบบ Serial แต่การ Output
Data จะเป็นแบบ Parallel โดยเราจะใช้จำนวน D – Type Flip – Flop เท่ากับ
จำนวน Bit ที่เราต้องการ Output โดยเมื่อมี
Clock signal 1 ครั้งจะทำให้เกิดการส่งข้อมูล 1 ไป 1 Bit (ไม่ใช่ 1 ชุด) เช่น ข้อมูลของ Bit ที่ 1 ส่งไปให้
Bit ที่ 2 ส่วนข้อมูลของ Bit ที่ 2 ส่งไปให้
Bit ที่ 3 เพราะ แต่ละ Flip –
Flop ใช้ Clock Signal ร่วมกัน
-
Serial – in to Serial – out (SISO)
Serial – in to Serial – out (SISO) คือ การ Input
Data และการส่ง Data จะคล้ายกับ SIPO คือจะเกิดการรับการส่งข้อมูลตาม Clock Signal แต่การ
Output Data จะแตกต่างเพราะ SISO จะ Output
Data แบบ Serial
-
Parallel – in to Serial – out (PISO)
Parallel – in to Serial – out (PISO) คือการ Input
Data จะเป็นแบบ Parallel และ Output
Data แบบ Serial ส่วนการรับส่งข้อมูลของ Flip
– Flop แต่ละตัวจะคล้ายๆกับ Shift register
แบบอื่นๆ
-
Parallel – in to Parallel – out (PIPO)
Parallel – in to Parallel – out (PIPO) คือการ Input
และ Output Data แบบ Parallel ส่วนการรับส่งข้อมูลของ Flip – Flop แต่ละตัวจะคล้ายๆกับ
Shift register แบบอื่นๆ
Class Work # 2 การต่อวงจรเพื่อศึกษา
Shift register โดยใช้ IC 74HC166
IC 74HC166 คือ การ Shift register
Serial หรือ Parallel Input แต่ Serial Output โดยใช้ขอบขาขึ้นของ Clock Signal ในการรับส่ง
สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก
Class Work
-


การ Shift register แบบ SISO โดย ~MR เป็น High , ~CE เป็น
Low , CP เป็นขอบขาขึ้น , ~PE เป็น High(เป็นการเลือกที่จะรับข้อมูลแบบ Serial) และ DS
เป็น ช่อง Input ของ Data Serial



การ Input Data : ในการ Input
Data แต่ละบิต เราต้องกด Debout Switch เพื่อให้เกิดขอบขาขึ้นของ
Clock signal ซึ่งทำให้เกิดการรับข้อมูล
การ Output Data : เมื่อเรา
Input Data ครบ 8 bit แล้ว เมื่อเราดู Output
ของ Data แต่ละตัวเราจะต้องกด Debout
Switch เพื่อให้เกิดขอบขาขึ้นของ Clock signal ซึ่งทำให้เกิดการมีการ Output Data ออกมาโดยลำดับของ
Data ที่ออกมาจะตามลำดับการ Input Data

-



การ Shift register แบบ PISO
โดย ~MR เป็น High , ~CE เป็น Low , CP เป็นขอบขาขึ้น , D0 – D7 เป็นช่อง Input Data แบบ Parallel , ถ้า ~PE เป็น 0 หมายถึงการโหลดข้อมูลของ
Input Data แบบ Parallel แต่ถ้า ~PE
เป็น 1 หมายถึง ไม่มีการโหลดข้อมูลแล้ว







การ Output Data : ในการ Output
ข้อมูลเราจะต้องกด Debout Switch เพื่อให้เกิดขอบขาขึ้นของ
Clock signal ซึ่งทำให้เกิดการมีการ Output Data ออกมาโดยลำดับของ Data ที่ออกมาจะตามลำดับการ Input
Data

0 ความคิดเห็น: